Skip to main content

รัฐบาลต้องมุ่งสร้าง “สันติภาพเชิงบวก” ในชายแดนใต้

หมายเหตุ: บทความชิ้นนี้แปลและเรียบเรียงจากต้นฉบับภาษาอังกฤษ Govt must strive to build 'positive peace' in South” ตีพิมพ์ครั้งแรกในหนังสือพิมพ์ Bangkok Post ฉบับวันที่ 29 เมษายน 2556 (หรือคลิกดูฉบับออนไลน์ได้

เปิดตัว "ฉีกแผ่นดินฯ" (2): บทวิเคราะห์วิจารณ์หนังสือ

อันธิฌา ยังสนใจเรื่องการแบ่งเป็นสี่กล่อง อยากขอให้ช่วยอธิบายตรงนี้ให้ชัดเจนขึ้นค่ะ วิธีการนี้น่าสนใจที่ตรงไหนบ้างมีจุดเด่นอย่างไรแตกต่างจากงานวิชาการด้านภาคใต้ของไทยของนักวิชาการคนอื่นๆอย่างไรบ้างและมันได้ให้ภาพของสถานการณ์ที่ชัดเจนมากขึ้นหรือไม่อย่างไรคะ

ข้อสังเกตต่อคำประกาศเจตนารมณ์และข้อเสนอของบีอาร์เอ็น (BRN: Barisan Revolusi National)

มูฮัมหมัดอิลยาส หญ้าปรัง
 
            เป็นเรื่องที่น่ายินดีอย่างยิ่งที่ อุซตาซ ฮัซซัน ตอยิบ และ คุณ อับดุลการีม คอลิบ ได้ออกมาพูดต่อสาธารณชนเป็นครั้งแรก โดยพูดในฐานะที่เป็นตัวแทนของกลุ่มเคลื่อนไหวบีอาร์เอ็น (BRN: Barisan Revolusi National)
 

เปิดตัว "ฉีกแผ่นดินฯ" (1): การทำงานของ 'ดันแคน แม็คคาร์โก' จุดเริ่มต้นของ "ฉีกแผ่นดินฯ"

เสวนาเปิดตัวหนังสือ color:#333333">“ฉีกแผ่นดิน: อิสลามและปัญหาความชอบธรรมในภาคใต้ ประเทศไทย” 
ตอนที่ 1: การทำงานของดันแคนแม็กคาร์โก จุดเริ่มต้นของ “ฉีกแผ่นดินฯ”

บีจารา ดามัย: การพูดคุยสันติภาพในสถานการณ์ใหม่

ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี
ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
 
color:#454545;">การที่ขบวนการบีอาร์เอ็นประกาศข้อเสนอของตนเองผ่านยูทูบได้ส่งผลสะเทือนต่อสถานการณ์สันติภาพระหว่างรัฐบาลไทยกับขบวนการต่อสู้เพื่อปาตานีที่กำลังเดินไปในระยะเริ่มต้นขณะนี้ มีข้อสังเกตุที่น่าพิจารณาดังต่อไปนี้