Skip to main content

เปิดตัว “กระบวนการสันติภาพปาตานี” สร้างพื้นที่กลาง-ระดมความคิดดับไฟใต้

ในช่วงต้นเดือนกันยายน ภาคประชาสังคมที่ขับเคลื่อนเรื่องสันติภาพในภาคใต้จะมีการเปิดตัว “กระบวนการสันติภาพปาตานี” (Pat[t]ani Peace Process - PPP) โรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้ได้พูดคุยกับผศ.ดร. ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี นักรัฐศาสตร์ผู้คร่ำหวอดกับการศึกษาเรื่องความขัดแย้งในภาคใต้ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้ขับเคลื่อนแนวคิดดังกล่าว 

“กระบวนการสันติภาพปาตานีคืออะไร”

บุก‘ปุโละปุโย’ ดูภารกิจทหารสานสัมพันธ์ชาวบ้านช่วงรอมฎอน

บุก ‘ปุโละปุโย’ หมู่บ้าน 4 ศพ ดูภารกิจทหารพรานในชายแดนใต้ ช่วงเดือนรอมฎอน การปรับการปฏิบัติงานตามคำสั่ง ‘3 ข้อห้าม 5 ข้อควรปฏิบัติ’  ให้ทหารเข้าใจวิถีชีวิตชาวบ้านในเดือนอันประเสริฐ

 

ปุโละปุโย

ศาลมาเลเซียยกฟ้อง 3 มือระเบิด บททดสอบความร่วมมือไทย-เพื่อนบ้านดับไฟใต้

รายงานพิเศษ : แม้มีการคาดการณ์หรือกล่าวหากันอยู่บ่อยครั้งว่าขบวนการต่อต้านรัฐในภาคใต้ของไทยใช้มาเลเซียเป็นฐานในการวางแผนก่อเหตุรุนแรง แต่ก็ยังไม่มีการจับกุมกันอย่างคาหนังคาเขา ตราบจนกระทั่งในปี 2552 ที่ตำรวจมาเลเซียได้เข้ารวบตัวชายมุสลิม 3 คนจากนราธิวาสได้ที่บ้านพักแห่งหนึ่งใกล้ชายแดนไทย – มาเลเซีย

การดำเนินคดีกับทั้งสามคนเป็นประเด็นที่น่าจับตามอง เพราะจะแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับมาเลเซียในการร่วมมือกับดับไฟใต้ได้อย่างดี  

เปิดข้อเสนอภาคประชาสังคมต่อ UN ขจัดเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติชายแดนใต้

เปิดรายงานเงาการขจัดเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ ภาคประชาสังคมเสนอยูเอ็นในเวทีที่เจนีวา เสนอรัฐเลิกกฎอัยการศึก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ขจัดวัฒนธรรมผู้กระทำผิดลอยนวล แนะรัฐส่งเสริมการสอนภาษามลายูด้วยอักษรยาวี

คาร์บอมบ์บวกถังน้ำมัน ปฏิบัติการเพิ่มอำนาจทำลายล้าง

รายงานพิเศษ : เปิดสถิติคาร์บอมบ์บวกถังน้ำมันในชายแดนใต้ ปฏิบัติการโหดเพิ่มอำนาจทำลายล้างชีวิตและทรัพย์สิน เผยพบบ่อยขึ้นในการก่อเหตุในช่วงหลังนี้ 

“Burqa 2010 อิสรภาพที่ถูกขโมย” ภาพถ่ายกับการต่อต้านขัดขืน

กิจกรรมเสวนาครั้งนี้เป็นการเปิดพื้นที่ให้กับผู้หญิงในการเล่าเรื่องราวหรือแง่มุมผ่านภาพถ่าย โดยมีวิทยากร 2 คน คือ อำพรรณี สะเตาะ ช่างภาพหญิงชาวยะรัง เจ้าของผลงาน Burqa 2010 ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำสาขาศิลปภาพถ่าย ม.รังสิต และ ดนยา จุฬพุฒิพงษ์ อดีตช่างภาพนิตยสาร a day weekly และหนังสือพิมพ์ Bangkok Post ปัจจุบันเป็นช่างภาพอิสระ 
 

ถล่มฐานทหารรือเสาะ : ปฏิบัติการชิงมวลชน - แสดงแสนยานุภาพ

รายงานพิเศษ :

โก้มองเห็นรถกระบะบรรทุกชายฉกรรจ์เต็มหลังรถกำลังแล่นผ่านหน้าไป  พวกเขาสวมเสื้อยืดคลุมทับด้วยเสื้อเกราะกันกระสุนและมีอาวุธสงครามอยู่ในมือ  โก้ถามตัวเองในใจเล่นๆ ว่า “แต่งตัวแบบนี้ เป็นเจ้าหน้าที่หรือโจรกันแน่”

กลั่นความคิด ‘มลายูปาตานี’ ผ่านนักเขียนการ์ตูน 3 ภาษา

สัมภาษณ์นักเขียนนักวาดการ์ตูน 3 ภาษา มลายู – ไทย – อังกฤษ จากสำนักพิมพ์บูหงารายาบุ๊ค กลั่นความคิดฟื้นฟูอัตลักษณ์ทางภาษาพร้อมดำรงศาสนาของคน ‘มลายูปาตานี’ ผ่านผลงานสื่อสิ่งพิมพ์

 

 

mso-bidi-language:AR-SA">هيلڠ بهاس هيلڠ بڠسا هيلڠ بڠسا هيلڠ اݢام mso-bidi-language:AR-SA">

ดรีมทีมรุ่นใหม่เพื่อสันติภาพ ‘วาดะห์’ จะกลับมา?

กลุ่มวาดะห์รวมตัวอีกครั้ง หลังได้บทเรียนจากการแยกกันเดิน ‘เด่น – วันนอร์ – อารีเพ็ญ – นัจมุดดีน’ จับมือตั้งทีมนักการเมืองรุ่นใหม่ สร้างความหวังดับไฟใต้

กรือเซะ : เยียวยาหรือตอกย้ำบาดแผล

บรรดาญาติของผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ปะทะที่บริเวณมัสยิดกรือเซะเมื่อแปดปีก่อนรวมตัวกันในช่วงกลางเดือนมิถุนายนที่ผ่านมาเพื่อคัดค้านมติของทางการที่อนุมัติเงินเยียวยาให้กับครอบครัวผู้เสียชีวิตเพียงรายละ 4 ล้านบาท การชดเชยด้วยตัวเงินที่มุ่งหวังให้เป็นการเยียวยาความรู้สึกอาจกลับกลายเป็นการตอกย้ำบาดแผลที่อยู่ในใจคนมลายูมุสลิมก็เป็นได้