Skip to main content

การสร้างเครือข่ายเยาวชนเพื่อหนุนเสริมการสร้างสันติภาพ: ทางออกหนึ่งของพื้นที่ฯ

 

สถานการณ์บ้านเมืองในปัจจุบันสังคมไทยกำลังเผชิญกับความขัดแย้งในระดับที่รุนแรง โดยเฉพาะความขัดแย้งในระดับโครงสร้างเป็นเรื่องของการแย่งชิงอำนาจและการใช้อำนาจนอกจากนี้ยังเป็นความขัดแย้งจากผลประโยชน์ (Interest Conflict) ที่มีการแย่งชิงผลประโยชน์กันประกอบกับความขัดแย้งนี้ยังเกี่ยวข้องกับนโยบายสาธารณะที่มีผู้ที่เกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) เกี่ยวข้องกันเป็นจำนวนมาก ซึ่งความขัดแย้งดังกล่าวที่เกิดขึ้น อาจก่อให้เกิดผลดีผลเสียแตกต่างกัน

ดึงภาคประชาชนเข้าร่วมการพูดคุยสันติภาพรอบใหม่ ตอบโจทย์การมีส่วนร่วมและสร้างความเข้าใจกับสังคม

Santiparp Shinedantai

ทำความเข้าใจกรอบการเจรจาสันติสุขรอบใหม่กันนะครับ

ตามที่ทราบกันเค้าแบ่งกรอบอออกเป็น 3 ระดับ

ครั้งนี้นับว่าต่างจากครั้งที่ผ่านมาซึ่งไม่มีตัวแทนภาคประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วม (ตัวแทนรัฐบาลกับตัวแทน BRN only)

แต่ครั้งนี้ในระดับพื้นที่ เครือข่ายภาคประชาสังคม ตัวแทนประชาชนจะอยู่ในโครงสร้างของการพูดคุยด้วย

“สันติภาพ/สันติสุข”การช่วงชิงวาทกรรมเพื่อกำหนดบริบทความขัดแย้ง

 อาบีบุสตา ดอเลาะ

หลังจากการพูดคุยสันติภาพระหว่างรัฐไทยกับกลุ่มขบวนการยุติลงเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2556 ประกอบกับการมาของรัฐบาลทหารโดยมีพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นนายกรัฐมนตรีจากการทำรัฐประหารรัฐบาลพลเรือนของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร  รัฐไทยมีการนำคำว่า สันติสุข มาเกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาปาตานีอย่างมีนัยยะสำคัญ ทั้งที่ก่อนหน้านี้มีการใช้คำว่าสันติภาพอย่างแพร่หลายทั้งจากนักวิชาการ ภาคประชาสังคม นักศึกษา กลุ่มขบวนการหรือแม้กระทั้งจากรัฐไทยเอง

กระบวนการสันติสุขกับกระบวนการสันติภาพต่างกันอย่างไร?

ตูแวดานียา ตูแวแมแง

หากจับความรู้สึกของสังคมสาธารณะทั่วไปโดยเฉพาะสังคมในแวดวงนักวิชาการและนักประชาสังคมด้านการรณรงค์เพื่อสันติภาพชายแดนใต้ของประเทศไทย ต่อปรากฏการณ์การพยายามให้มีการพูดคุยเพื่อสงบศึกอีกครั้งของทางรัฐไทยโดยการนำของพณฯพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีปัจจุบัน เมื่อวันที่1ธันวาคม 2557 ทำการเยือนประเทศมาเลเซียอย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรกอย่างมีนัยยะสำคัญ  หลังการเข้ามารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 29 นับเป็นเวลาครบรอบ1ปีถ้วนพอดีของภาวะสูญญากาศของโต๊ะการพูดคุยสันติภาพระหว่างรัฐไทยกับ BRN

การนำเสนอของสื่ออาจทำให้เข้าใจผิด

อสนียาพร นนทิพากร

จากเหตุการณ์ข่าวสารที่เกิดขึ้นในพื้นที่ชายแดนใต้ เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2557 เวลาประมาณ 20.00 น. ได้มีคนร้ายประมาณ 1 – 2 คน ใช้อาวุธปืน AK-47 ยิง นายฮาซัน  มะแตหะ อายุ 43 ปี เสียชีวิต ณ บ้านเลขที่ 45 บ.ธารมะลิ ต.อัยเยอร์เวง อ.เบตง จ.ยะลา และบุตรชาย ชื่อ ด.ช.อัยมัน มะแตหะ ถูกยิงที่บริเวณหน้าท้อง ได้รับบาดเจ็บสาหัส ญาติได้นำตัวส่ง โรงพยาบาลเบตง

นาจิบและหลักการพื้นฐานสามข้อ: ประเทศไทยยอมรับบทบาทของมาเลเซียในกระบวนการสันติภาพชายแดนใต้

หมายเหตุ: การพบปะระหว่างสองนายกรัฐมนตรีไทย-มาเลเซียเมื่อวันที่ 1 ธันวาคมที่ผ่านมาได้นำมาสู่ก้าวสำคัญของกระบวนการสันติภาพในระดับบนไปอีกขั้น หลังจากหยุดชะงักมาเป็นเวลานาน ในแง่กระบวนการแล้ว การยอมรับบทบาทใน “การทำงานร่วมกัน” ของทั้งสองประเทศและการเปิดตัวหัวหน้าคณะพูดคุยฝ่ายไทยอาจจะสำคัญก็จริง แต่นัยสำคัญที่ควรต้องบันทึกเอาไว้ในที่นี้คือ “หลักการพื้นฐานสามข้อ” ที่นายกรัฐมนตรีนาจิบยืนยันว่าเห็นพ้องต้องกันทั้งสองฝ่าย นี่อาจเป็นจุดเริ่มต้นของการพูดคุยรอบใหม่ แม้ว่าความท้าทายของกระบวนการสันติภาพจะยังคงดำรงอยู่ รวมไปถึง “คำถาม” จากฝ่ายที่เห็นแตกต่างอีกไม่น้อย กองบรรณาธิการเ

บทนักข่าวพลเมือง สานเสวนาสันติภาพชายแดนใต้

       การรวมกกลุ่มสตรีที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความรุนแรง ในการเรียนรู้ทักษะการจัดวงสานเสวนา เพื่อนำไปสู่การพูดคุยในระดับพื้นที่ หวังว่าจะเป็นพื้นที่สร้างความเข้าใจและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ติดตามจากรายงานนักข่าวพลเมืองเครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคมเพื่อสันติภาพชายแดนใต้

      เครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคมเพื่อสันติภาพชายแดนใต้ ร่วมเรียนรู้การเป็นวิทยากรกระบวนการ นำไปปรับใช้ในพื้นที่ เพื่อจัดวงสานเสวนา ศึกษาความต้องการของชุมชนและปัญหาอุปสรรคในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในพื้นที่

รำลึกถึงบุคคลอันเป็นที่รัก เรื่องเล่าของผู้สูญเสียจากตีมอร์เลสเตและอาเจะห์

หนังสือเรื่อง รำลึกถึงบุคคลอันเป็นที่รัก การเปลี่ยนแปลง (ความทรงจำ) อันขื่นขมในวันวาน สู่การสร้างพลังในวันนี้ ผู้เขียนจำนวน 4 คน คือ Jose Luis de Oliviera, Natalia de Jesus Cesaltino, Lilik HS, Dodi Yunir. รวบรวมเรื่องเล่าจากครอบครัวบุคคลที่สูญหายและเหยื่อจากความรุนแรงในอาเจะห์และTimor- Leste จำนวน 92 คน