Skip to main content

ภาษามลายูนำทางชีวิต(อ.ชินทาโร่ ฮาร่า)

AwanBook

ภาษามลายูนำทางชีวิต
(Bahasa Melayu penentu perjalanan hidup)

อ.ชินทาโร่ ฮารา เขียน
อับดุลเลาะ วันอะฮ์หมัด ถอดความเป็นภาษาไทย

เท่าที่ผมทราบก็คือว่า ชาวญี่ปุ่นที่ได้ศึกษาภาษามลายูนั้นยังมีจำนวนไม่ค่อยมากเท่าไหร่ ด้วยเหตุนี้ผมใคร่ขออนุญาตที่จะเล่าเรื่องราวในฐานะที่เป็นชาวญี่ปุ่นมาแต่กำเนิด ที่มีโอกาสได้สัมผัสกับภาษามลายู และมีความเป็นมาอย่างไรถึงได้มีความหลงใหลในภาษานี้จนต้องศึกษาต่อเพิ่มเติมที่ประเทศมาเลเซีย

จะให้ยุติหรือลดระดับการต่อสู้ (ความรุนแรง)...ทำไมต้องรอมฎอน?

ตูแวดานียา ตูแวแมแง

นับตั้งแต่ได้มีการริเริ่มกระบวนการสันติภาพด้วยการมีข้อตกลงร่วมกันว่าจะพูดคุยอย่างเป็นทางการภายใต้กรอบรัฐธรรมนูญไทย ระหว่างคณะพูดคุยตัวแทนรัฐบาลไทยกับคณะพูดคุยตัวแทนขบวนการแนวร่วมปฏิวัติแห่งชาติปาตานี (BRN) โดยผ่านภาพการนำเสนอข่าวของสื่อกระแสหลักและสื่อทางเลือกแทบทุกช่อง ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556

Patani Design 4: ขบวนการคนหนุ่มสาวเมอลายูปาตานี (1)

มูฮาหมัดอัณวัร  อิสมาแอล  หะยีเต๊ะ / เขียน
รอมือละห์  แซเยะ / ภรรยาผู้พิมพ์
 

กระบวนการสันติภาพ ที่เริ่มด้วยการพูดคุยสันติภาพอย่างเปิดเผยระหว่างรัฐบาลไทย กับขบวนการกู้ชาติปาตานี (

ข้อปฏิบัติ จนท.รัฐช่วงรอมฎอน

ข้อเสนอจากประชาชนและผู้นำศาสนาที่ขอให้ลดปฏิบัติการความรุนแรงช่วงเดือนรอมฎอน ได้รับการสานต่อไปยังโต๊ะเจรจาสันติภาพระหว่างตัวแทนฝ่ายไทยและกลุ่มบีอาร์เอ็น ขณะเดียวกัน จุฬาราชมนตรีได้ออกประกาศแนวทางปฏิบัติของเจ้าหน้าที่รัฐในช่วงเวลาดังกล่าว ภาคประชาชนและนักวิชาการในพื้นที่ก็มีข้อเสนอแนะเช่นกัน

ถอดรหัสจากป้ายผ้า “พื้นที่การสื่อสารของบีอาร์เอ็น”

abdulloh wanahmad

AwanBook

ถอดรหัสจากป้ายผ้า “พื้นที่การสื่อสารของบีอาร์เอ็น”

ภายหลังจากที่กำหนดการแถลงการณ์หยุดยิงจากทางฝ่ายบีอาร์เอ็นถูกเลื่อนออกไปอย่างไม่มีกำหนดทั้งทางวาจาและตัวหนังสือ กลายเป็นเรื่องเล็กๆ น้อยๆ ที่มิอาจคาดการณ์ได้ว่า ในวันต่อจากนี้ไปจะเกิดอะไรขึ้นในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่อยู่ในระหว่างช่วงเดือนรอมฏอนพอดี