Skip to main content

กระบวนการสันติภาพในมุมมองของข้าราชการ (1)

หมายเหตุ : บทความชิ้นนี้ได้นำมาจาก "บทสนทนาในห้วงยามเปลี่ยน(ไม่)ผ่าน"กระบวนการสันติภาพในมุมมองของข้าราชการ 

ก้าวพ้นมุมมองแบบดราม่าในสถานการณ์ความขัดแย้ง

กุสุมา กูใหญ่
อาจารย์ประจำคณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
 

กระบวนการสันติภาพในมุมมองของนักธุรกิจ (2)

หมายเหตุ : บทความชิ้นนี้ได้นำมาจาก "บทสนทนาในห้วงยามเปลี่ยน(ไม่)ผ่าน"กระบวนการสันติภาพในมุมมองของนักธุรกิจ ในวันที่ 11 เม.ย. 2556 ณ ร้านบูคู ปัตตานี

กระบวนการสันติภาพในมุมมองของนักธุรกิจ (1)

 

หมายเหตุ : บทความชิ้นนี้ได้นำมาจาก "บทสนทนาในห้วงยามเปลี่ยน(ไม่)ผ่าน"กระบวนการสันติภาพในมุมมองของนักธุรกิจ ในวันที่ 11 เม.ย. 2556 ณ ร้านบูคู ปัตตานี (ที่มา: http://www.pataniforum.com/patani_cafe_detail.php?patani_cafe_id=16)

เมื่อภาคประชาสังคมขอมีเอี่ยวในการต่อรอง

ทันทีทันใดนั้นพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ก็เต็มไปด้วยความเคลื่อนไหวอันคึกคัก มีการจัดเวทีพูดคุยแทบไม่เว้นแต่ละวันในเรื่องเกี่ยวกับกระบวนการสันติภาพ  ผลพวงอันนี้แน่นอนว่าเป็นเพราะการตั้งโต๊ะเจรจาระหว่างไทยกับบีอาร์เอ็นอย่างมิพักต้องสงสัย

รูปแบบเขตปกครองพิเศษอาเจะห์

อรอนงค์ ทิพพิมล

ความขัดแย้งระหว่างอาเจะห์กับรัฐบาลอินโดนีเซียมีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานเกือบจะเท่าๆ กับอายุของสาธารณรัฐอินโดนีเซียอันเนื่องมาจากประวัติศาสตร์, การเมืองการปกครอง และอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ทำให้อาเจะห์ต่อสู้เพื่อแยกตัวเป็นรัฐอิสระจากอินโดนีเซียมาตั้งแต่สมัยประธานาธิบดีซูการ์โน แต่ความขัดแย้งทวีความเข้มข้นและรุนแรงขึ้นในยุคระเบียบใหม่ของประธานาธิบดีซูฮาร์โต