K4DS Post ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ 2557
K4DS Post ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ ทบทวนการสื่อสารเพื่อสันติภาพและปฏิบัติการทางสังคมเพื่อสร้างสนามสันติภาพของเครือข่ายสื่อภาคประชาสังคม เพื่อเตรียมรับงานวันสื่อสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี “10 ปีไฟใต้” ที่กำลังจะมาถึงในวันที่ 27-28 กุมภาพันธ์นี้ ซึ่งเป็นวันที่คู่ขัดแย้งหลักทั้งสองฝ่าย คือ รัฐไทยและขบวนการ BRN ได้ทำข้อตกลงกระบวนการพูดคุยสันติภาพ อันเป็นจุดเริ่มสำคัญให้คู่ขัดแย้งและคนในพื้นที่ได้มีความหวัง โอกาส และส่วนร่วมในการกำหนดอนาคตของสันติภาพชายแดนใต้
ระดมสมองการใช้ประโยชน์องค์ความรู้เชิงประเด็น
ขบวนการฯพบสื่อไทย ส่งสัญญาณเดินหน้ากับสันติภาพ
ผ่านไปแล้วอย่างเงียบเชียบ คือเวทีที่สื่อไทยพบกับคนจากกลุ่มต่อต้านรัฐบาลเมื่อต้นเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา ซึ่งถือว่าเป็นหนแรก
K4DS Post ฉบับเดือน พฤศจิกายน 2556
K4DS Post ฉบับพฤศจิกายน ขอหยิบยกเรื่องราวว่าด้วยกระบวนการสันติภาพของผู้หญิง เนื่องในวันรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อสตรีสากล ซึ่งตรงกับวันที่ 25 พฤศจิกายนของทุกปีเพื่อให้ทุกท่านได้ระลึกถึงอีกบทบาทหนึ่งที่สำคัญของ“ผู้หญิง” อ้นเป็นอีกหนึ่งพลังสันติภาพเพื่อยุติความรุนแรงในชายแดนใต้
พลังผู้หญิงร่วมสร้างและตามหาสันติภาพ
ใครกันแน่ที่โหยหาสันติภาพในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย?
นับตั้งแต่เกิดเหตุการณ์ปล้นปืนที่จังหวัดนราธิวาส เมื่อปี 2547 อันเป็นจุดเริ่มอย่างเป็นรูปธรรมของ “วิกฤติไฟใต้” ที่เวลาผ่านไปแล้ว 9 ปีจะย่างเข้าปีที่ 10 ไฟใต้ยังคงลุกโชน ไม่มีทีท่าว่าจะดับลงในระ
สื่อชายขอบกับการเปิดพื้นที่เพื่อสร้างสันติภาพ
สื่อทางเลือกในพื้นที่ความขัดแย้งสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้เวลาจับเข่าแลกเปลี่ยนปัญหาหลายคนพบว่าวิทยุและอินเตอร์เนทครองพื้นที่สำคัญในการถกเถียงทางการเมือง เป็นสื่อของคนต่างกลุ่มแต่ตอบโจทย์คนในพื้นที่ได้ดีกว่าสื่อส่วนกลาง สรุปบทเรียนว่าการเปิดพื้นที่ให้ทุกฝ่ายต้องยึดโยงข้อเท็จจริง ไม่ตีความเกินข้อมูล เสนอความเห็นที่ยึดหลักสามัญสำนึกไม่ใช้อารมณ์เกินเหตุ ปัญหาใหญ่ที่แก้ยากคือการเปิดพื้นที่ให้ฝ่ายตรงข้ามรัฐเจอแรง
"เจ้าหน้าที่รัฐ" 1 ในผู้ต้องสงสัยจากผลสอบคดีกราดยิง 6 ศพปัตตานี
นายวิสุทธิ์ สิงห์ขจรวรกุล ในฐานะประธานคณะกรรมการตรวจสอบเหตุการณ์ความรุนแรงจังหวัดชายแดนภาคใต้ เปิดเผยว่า ผลประชุมวิเคราะห์ปัญหาความรุนแรงที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาประมาณ 2 เดือนที่ผ่านมา ในช่วงการพูดคุยสันติภาพ โดยเฉพาะเหตุฆ่า 6 ศพ ที่จังหวัดปัตตานี และฆ่า 4 ศพ ที่จังหวัดยะลา พบว่า เกี่ยวข้องกับการพูดคุยสันติภาพจริง
"เจ้าบ้าน" กับพฤติกรรมอันไร้ซึ่งมารยาทของ “แขก” ใน “ปัตตานี-ยะลา-นราธิวาส”
-1-
เมื่อย่างเท้าออกจากบ้านเรา เดินทางเข้าไปในบ้านเขา เราก็เป็นแขก สิทธิพิเศษที่จะได้รับตามธรรมเนียมสากลปฏิบัติคือการต้อนรับขับสู้ เลี้ยงดูกันไปตามอัตภาพ ตามเอกลักษณ์และวัฒนธรรมความเป็นอยู่ของเจ้าบ้าน
เสียงสะท้อนสื่อมาเลย์: ปัจจัยนำสันติภาพสู่ชายแดนใต้
‘ซุลกิพลี บาการ์’ คอลัมนิสต์หนังสือพิมพ์อูตูสซันมาเลเซีย
กองบรรณาธิการสำนักข่าวอามาน แปลและเรียบเรียง
http://voicepeace.org