Skip to main content

วัฒนธรรมเรียกร้องสิทธิ กลไกสร้างสันติภาพชายแดนใต้

เนื่องในวันครบรอบ 3 ปีการพูดคุยสันติภาพ 28 กุมภาฯ องค์กรภาคประชาสังคมร่วมกันจัดงาน “วันสื่อสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานีครั้งที่ 3 และสมัชชาสันติภาพ 2016” ที่ ม.อ.ปัตตานี ชูแนวคิด “สันติภาพเดินหน้า” (Peace Moving Forward) เปิดโอกาสทุกฝ่ายบนโต๊ะพูดคุยรายงานความคืบหน้าต่อสาธารณะ พร้อมรับ “วาระสันติภาพจากพื้นที่” (Agenda Damai Dari Rakyat) เป็นวาระในกระบวนการพูดคุยสันติภาพ

“......ค้นหา (ภาวะ) ผู้นำกันเถอะ.... .”

อิมรอน  โสะสัน 

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์   ม.ขอนแก่น 

 

ไม่มีใครปฏิเสธได้ว่า “ภาวะผู้นำ” คือส่วนประกอบอันสำคัญยิ่งของความสำเร็จที่ทุกองค์กรพึงปรารถนา ด้วยเหตุนี้ ท่านศาสนทูตในอิสลามและบรรดาคอลีฟะฮ์ทั้งหลายจะให้ความเอาใจใส่อย่างยิ่งต่อการแต่งตั้งบุคคลที่จะต้องทำหน้าที่ “ในฐานะผู้นำ”ตามวาระที่พวกเขาได้รับหมอบหมาย

USIM ร่วมสร้างกระบวนการสันติภาพผ่านการหนุนเสริมการศึกษา

 

รายงานโดยอุสตาซอับดุชชะกูรบินชาฟอีดินอะ

กระบวนการสร้างสันติภาพมีความสำคัญมาก การยกระดับการศึกษาคนในพื้นที่ชายเเดนใต้มีความสำคัญไม่เเพ้กระบวนการพูดคุยที่มีมาเลเซียเป็นผู้อำนวยการช่วยประสานระหว่างรัฐกับ MARA

จะเข้าใจ Peace talk process ต้องเข้าใจคู่ขัดแย้งหลักด้วย (ตอนที่ 2)

ในสถานการณ์ความขัดแย้งที่ใช้ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนใต้/ปาตานีนั้นมีตัวละครที่ถือเป็นตัวแสดงหลักในภาวะความขัดแย้งนี้อยู่หลายตัวแสดง ซึ่งบรรดาตัวแสดงเหล่านั้นคงหนีไม่พ้นตัวแสดงที่เรียกว่า Party B หรือที่เราเรียกกันในภาษาไทยว่า ผู้เห็นต่างจากรัฐ จุดเริ่มต้นในการเรียกว่า ผู้เห็นต่างจากรัฐ Party B คือ การลงนามในฉันทามติทั่วไปว่าด้วยการพูดคุยสันภาพ General consensus ระหว่างตัวแทนคณะพูดรัฐบาล ที่นำโดย พล.ท.ภราดร พัฒนถาบุตร และ พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง กับตัวแทนผู้เห็นต่างจากรัฐ โดย อุซต๊าซฮาซัน ตอยยิบ ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2013 ซึ่งมี ดาโต๊ะโมฮัมเหม็ด ทายุดดิน บิน อับดุล วาฮับ เลขาธิการสภาความมั่นคงแห

สันติภาพภาคใต้: คณะพูดคุยของไทยระบุมีความคืบหน้า

เผยแพร่เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ เวลา 20:02 น.

 

ร่วมกันยกร่างกติกาการพูดคุยใกล้เสร็จสมบูรณ์ บรรยากาศเป็นมิตรมากขึ้นจนถึงขั้น “เซลฟี่” กันได้แล้ว