Skip to main content

ถอดบทเรียนจากวงเสวนาสะท้อนย้อนคิดข่าวสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี

ถอดบทเรียนโดย

ดันย้าล อับดุลเลาะ

*ส่วนหนึ่งของงาน วันสื่อสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี ครั้งที่ 3 ภายใต้แนวคิด สันติภาพเดินไปข้างหน้า วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2016

อินโดนีเซีย ในความรู้สึก

 

อินโดนีเซีย ในความรู้สึก [๑]

มีโอกาสได้เดินทางไปประชุมเพิ่มเติมความรู้ในแต่ละเหตุการณ์ ในแต่ละประเทศ ต่างเหตุการณ์บ้านเมือง ต่างประเทศที่จะช่วยเหลือ โดยการสนับสนุนของ กาชาดสากล หรือ ICRC (International Committee of the Red Cross)

ความเหมือนที่น่าห่วงใย ของปอเนาะญีฮาดกับโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพา

เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2559 มีเวทีคัดค้านโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพาที่มัสยิดบ้านท่าด่าน ใกล้กับโรงเรียนปอเนาะญีฮาดวิทยา ผมไปร่วมเวทีและได้มีโอกาสแวะไปเยี่ยมดูสภาพปอเนาะญ๊ฮาดที่ถูกทิ้งร้างมา 11 ปีนับตั้งแต่เข้าสู่กระบวนการยุติธรรม วันนี้ศาลชั้นต้นตัดสินยึดที่ดินโรงเรียนมาเป็นของรัฐ ลูกชายเจ้าของโรงเรียนยอมรับคำพิพากษาไม่ขออุทธรณ์แล้ว เพราะเหนื่อยมากในการสู้คดีที่ผ่านมา และยอมย้ายออกจากที่ดินบรรพบุรุษของตน จนเกิดปรากฏการณ์ที่พี่น้องมุสลิมจำนวนมากมาเยี่ยมให้กำลัง

“อาเซียน” โอกาสของมุสลิม…?

อิมรอน  โสะสัน

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

 

ประชาคมอาเซียนเปิดแล้วอย่างเป็นทางการ ความเปลี่ยนแปลงในเชิงโครงสร้างทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมของประชาคมอาเซียนหกร้อยล้านคนคงต้องเปลี่ยนไป แต่จะเปลี่ยนไปอย่างไรและจะส่งผลต่อความสัมพันธ์ของประชาชนภายใต้ประชาคมใหม่มากน้อยแค่ไหน ยังไม่มีใครจะคาดเดาได้

ประมวลภาพ วันสื่อสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี ครั้งที่ 3 และสมัชชาสันติภาพ 2016 Peace, Moving Forward

วันสื่อสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี ครั้งที่ 3 และสมัชชาสันติภาพ 2016

Peace, Moving Forward

 
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2559
ณ ห้องประชุมใหญ่ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
 
 
 

เครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคมฯ แถลงการณ์ครบรอบ 3 ปี การพูดคุยระหว่างรัฐบาลกับฝ่ายเห็นต่างจากรัฐ "สันติภาพที่กินได้" (แถลงการณฺ์ฉ

 

เนื่องในโอกาส ครบรอบ 3 ปี ของการพูดคุยสันติภาพ ระหว่างฝ่ายรัฐบาลไทย และฝ่ายเห็นต่างจากรัฐ (ปัจจุบันคือ มารา ปาตานี) ในงานวันสื่อสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี ที่ม.อ. ปัตตานี เครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคมเพื่อสันติภาพชายแดนใต้ (civic women) และองค์กรภาคี ออกแถลงการณ์ ที่เป็นข้อเรียกร้องที่มาจากเสียงของผู้หญิงในชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความรุนแรง และเสียงของผู้หญิงภาคประชาสังคม ที่ทำงานด้านสันติภาพมาอย่างต่อเนื่อง ดังมีรายละเอียดของแถลงการณ์ภาษาไทยและอังกฤษ ข้างล่างนี้