โจทย์ท้าทายของการช่วยเหลือทางมนุษยธรรมชายแดนใต้
“ลอดช่อง” ร่องรอยความคิด : บทเรียนจากสิงคโปร์[
ผู้บริหาร มอ.ปัตตานี ไม่ติดใจนักศึกษาเคลื่อนค้านโรงไฟฟ้าฯ กฟผ. แจงไม่คิดสร้างความแตกแยกฯ...
ผู้บริหาร มอ.ปัตตานี ไม่ติดใจนักศึกษาเคลื่อนค้านโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพา ชี้เป็นเป็นสิทธิการแสดงออกต่อสังคม กฟผ. แจงไม่คิดสร้างความแตกแยก ระบุชี้แจงแล้วทุกหมู่บ้าน-ศึกษาผลกระทบคุณภาพอากาศไกลถึง 30 กม.
สถานการณ์วิทยุชุมชนจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปี 2558
ปาตานี ; บทเพลงแห่งชีวิต ความขัดแย้งที่ถูกลิขิต?
Abdulloh Wanahmad; awan book
หนทางข้างหน้าจะเป็นเช่นไร ไม่มีใครหยั่งรู้ถึงความน่าจะเป็นที่อาจปรากฏขึ้นบนบรรณพิภพแห่งนี้ได้ ปัญหาทุกปัญหาย่อมมีทางออกฉันใด ปัญหาปาตานีย่อมมีทางออกฉันนั้น ทว่ากว่าจะถึงจุดนั้น ไม่มีใครล่วงรู้ได้ว่า ชีวิตของผู้คนที่นี่ จะต้องประสบพบเจอกับปัญหาแห่งความขัดแย้งนี้อีกนานเท่าใด?
ภาคประชาสังคมกับกระบวนการสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี : การประเมินและก้าวต่อไปข้างหน้า (1)
เดินหน้า Peace Survey ชายแดนใต้
ตลอดช่วงสิบกว่าปีที่ผ่านมา การสำรวจความคิดเห็น หรือ โพล ต่างๆ ต่อประเด็นสันติภาพและความขัดแย้งในพื้นที่ชายแดนใต้ได้มีการศึกษาไว้หลายครั้ง แต่หากเครือข่ายสถาบันวิชาการร่วมกับภาคประชาสังคมในพื้นที่ ร่วมกันทำPeace Survey หรือ การสำรวจความคิดเห็นประชาชนต่อกระบวนการสันติภาพ
“จุดเริ่มต้นที่หายไป”
พุทธมณฑล
จากกรณีที่ทางจังหวัดปัตตานี ร่วมกับศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ เตรียมผลักดันก่อสร้างพุทธมณฑลในที่ดินงอกของแผ่นดิน ที่ตั้งอยู่ ม.6 ต.รูสะมีแล อ.เมือง จ.ปัตตานี ใกล้กับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จนเกิดกระแสต่อต้านในสังคมโซเชียลในขณะนี้ โดยมีหลายฝ่ายทั้งนักวิชาการ ผู้นำศาสนา ออกมาให้ความเห็นที่หลากหลายถึงความไม่เหมาะสม จนเป็นที่ถกเถียงกันในวงกว้าง