Skip to main content

ชมย้อนหลัง พลเมืองข่าวตอน สันติในภาพ

       

รายการพลเมืองข่าว ตอน สันติในภาพ 

      ภาพของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ปัตตานี ยะลา และนราธิวาสในการรับรู้ของสังคมทั่วไป อาจเต็มไปด้วยความรุนแรง ความสูญเสียต่อเนื่องยาวนานมานับ 10 ปี ขณะที่คนในพื้นที่พยายามแสวงหาหนทางสู่สันติภาพหลายลักษณะ

เปลี่ยนบ้าน“ปิดอ” สู่บ้าน “บลีดอ”

หมายเหตุ: ชื่อหมู่บ้านจำนวนมากในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ตั้งชื่อผิดเพี้ยนจากเดิม “ชื่อบ้าน นามเมือง ในพื้นที่ชายแดนใต้” เป็นโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการที่ดำเนินการมาเพื่อความภาคภูมิใจในอัตลักษณ์ด้านภาษาและประวัติศาสตร์ของชุมชนผ่านการศึกษาชื่อ โดยเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย ทั้งระดับท้องถิ่น ผู้นำศาสนา สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และตัวแทนชาวบ้านเพื่อชี้แจงท

สิ่งที่ได้เรียนรู้จากครูชื่ออัฮหมัด สมบูรณ์ บัวหลวง

คงไม่มีใครที่ทำงานจังหวัดชายแดนภาคใต้แล้วไม่รู้จักชื่อนี้ อัฮหมัด สมบูรณ์ บัวหลวง

แตกต่างแต่ว่าอย่าแตกแยกกรณี อีดดิ้ลอัฏฮาสองวัน

อุสตาซอับดุชชะกูรฺ บิน ชาฟิอีย์  (อับดุลสุโก ดินอะ)
กรรมการสภาประชาสังคมชายแดนใต้       
 

"มวลการสรรเสริญเป็นสิทธิ์ของอัลลอฮฺ (สุบหานะฮูวะตะอาลา) ผู้ทรงอภิบาลแห่งสากลโลกขอความจำเริญและสันติจงประสบแด่ศาสนฑูตมุฮัมมัด ผู้เจริญรอยตามท่านและสุขสวัสดีผู้อ่านทุกท่าน"

ชื่ออัฮหมัด สมบูรณ์ บัวหลวง เป็นนักคิด นักเขียน นักสันติวิธี

อัฮหมัด สมบูรณ์ บัวหลวงหรือที่หลายคนเรียกอาเยาะมะบ้าง แบมะบ้าง ไม่ได้เป็นแค่นักคิด นักเขียนหรือนักสันติวิธีเท่านั้น ท่านยังเป็นนักประวัติศาสตร์ท้องถิ่น นักนิเวศวิทยา นักสื่อสารมวลชน นักปกครองท้องถิ่น ฯลฯ ที่สำคัญท่านเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณของนักเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมรุ่นใหม่ในกระแสเรียกร้องอัตลักษณ์มลายูปาตานี ท่านได้สร้างคุณูปการไว้อย่างใหญ่หลวงในการปูทางสู่การพูดคุยสันติภาพระหว่างรัฐกับผู้มีความคิดต่าง การเสียสละ ความจริงใจและความรับผิดชอบของท่านทำให้ทุกฝ่ายเกรงใจและยอมเดินเข้าสู่ประตูกระบวนการสันติภาพ วันนี้อัฮหมัด สมบูรณ์ บัวหลว

แผนที่เดินทางสู่สันติภาพในบทบาทของคนไทยพุทธ ๒

 

จากเวที แผนที่เดินทางสู่สันติภาพในบทบาทของคนไทยพุทธ ๒  ตอน เสริมคิด ติดความเข้าใจ  โดย เครือข่ายชาวพุทธเพื่อสันติภาพ  และการสนับสนุนของ ศอ.บต.

นายอัฮหมัดสมบูรณ์ บัวหลวง: นักวิชาการอิสระสันติวิธี

 

อัฮหมัดสมบูรณ์ที่คนส่วนใหญ่ในพื้นที่เรียกว่า แบม๊ะ หรือไม่ก็อาเย๊าะ (พ่อ) จบการศึกษาจากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (เข้าศึกษาปี 2513) รับราชการที่ มอ.ปัตตานี ตำแหน่งก่อนการลาออกเพื่อเป็นนักวิชาการอิสระ คือ หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมและเผยแพร่ สำนักส่งเสริมและการศึกษาต่อเนื่อง