ระวังผลข้างเคียง !
มูฮำมัดอายุบ ปาทาน
ทันทีที่เหตุผล กรณีหน่วยงานทหารนำตัวกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบซึ่งถูกควบคุมตัวหลังเปิดยุทธการปิดล้อมตรวจค้นมาเข้าค่ายฝึกอบรมอาชีพเป็นเวลา 4 เดือนถูกเปิดเผยว่า เป็นการดำเนินการตามประกาศกองทัพภาคที่ 4 ห้ามบุคคลเข้าพื้นที่ชายแดนภาคใต้ชั่วคราว มีกำหนดระยะเวลา 6 เดือน เสียงวิพากษ์วิจารณ์ในแง่การละเมิดสิทธิมนุษยชนของรัฐไทยก็ดังขึ้นอีกครั้ง
ไฟใต้สามเดือนครึ่งหลังปี 2550 : บนสถานการณ์ของความแปรปรวน
ศูนย์เฝ้าระวังเชิงองค์ความรู้สถานการณ์ภาคใต้
2-3 พ.ย. 50 : มหกรรมสันติวิธีครั้งที่ 2 วิถีสู่ความเป็นธรรมและสมานฉันท์
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาสันติวิธี มหาวิทยาลัยมหิดล
สถานที่ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
วันเวลา : 2-3 พฤศจิกายน 2550
ความรุนแรงผูกขาดการบอกเล่า
มูฮำมัดอายุบ ปาทาน
เกือบจะครบ 4 ปีเต็มแล้วที่สถานการณ์ความรุนแรงชายแดนภาคใต้ ยึดครองพื้นที่การนำเสนอของสื่อมวลชนไทยทุกแขนง ข้อมูลข่าวสารความรุนแรงถูกลำเลียงจากที่เกิดเหตุสู่การรับรู้ของสังคมทั้งภายในและนอกประเทศอย่างท่วมท้นตลอดช่วง 4 ปีที่ผ่านมา
VIS รายงานสถานการณ์ใต้ ส.ค. 50 ชี้ "ความรุนแรงเพิ่ม–ประชาชนตกเป็นเป้า"
ศูนย์เฝ้าระวังเชิงองค์ความรู้สถานการณ์ภาคใต้
วิเคราะห์สถานการณ์ชายแดนใต้ : ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี
รู้จักตักกินแกงจืดด้วยมีด : ยุทธศาสตร์สงครามแบบใหม่ในภาคใต้
เผยแพร่ | 2550-09-02
1 ปี "คมช.-รัฐบาล" ไฟใต้ทรงกับทรุด
ปกรณ์ พึ่งเนตร
แม้นักวิชาการที่ร่วมเวทีเสวนาในวาระ 1 ปีรัฐประหาร ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 16 ก.ย.ที่ผ่านมา จะสรุปไปในทิศทางเดียวกันว่า ผลงานดับไฟใต้ของรัฐบาล และคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) ค่อนข้างล้มเหลวอย่างสิ้นเชิงก็ตาม
การเมือง 3 จังหวัดภาคใต้
"สถานการณ์ร้อน-การเมืองเดือด" เจาะสนามเลือกตั้ง 3 จังหวัดชายแดนใต้
คน 'หาย' ในไฟใต้
รายงานพิเศษ 'คนหายในไฟใต้' 1
จาก "สมชาย" ถึง "อิบรอฮีม" เหยื่ออุ้มหายจากรัฐตำรวจสู่รัฐบาลสมานฉันท์