Skip to main content

ปืนกลางไฟใต้ เครื่องมือสร้าง ‘สันติภาพ' หรือ 'สงครามกลางเมือง'

ศูนย์เฝ้าระวังเชิงองค์ความรู้สถานการณ์ภาคใต้ (IDSW)

 

ตอนที่ 1.จากปล้นปืน สู่เสียงเพรียกหาปืนในสถานการณ์ใต้

ประเมินผลงานทหารพรานเข้าตา เตรียมลงใต้อีก 20 กองร้อย

"หลังจากมีทหารพรานชุดนี้อยู่ในพื้นที่ เราได้เบาะแสของกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบมากขึ้น" พล.ต.จำลอง คุณสงค์ เสนาธิการกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน ภาค 4 (กอ.รมน. ภาค 4) กล่าวถึงประสิทธิ ภาพของทหารพราน 30 กองร้อยที่ลงปฏิบัติหน้าที่เสริมกำลังทหารหลักในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้นับตั้งแต่กลางเดือน ม.ค.เป็นต้นมา

ตั้งทีมค้นหาความจริง...ฝ่าวังวนตอกลิ่มสองศาสนา

วงสัมมนาของศูนย์เฝ้าระวังเชิงองค์ความรู้สถานการณ์ภาคใต้ ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (ม.อ.ปัตตานี) เมื่อวานนี้(3 เม.ย.) ทั้งนักวิชาการ , ข้าราชการ , อดีตกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติ (กอส.) และตัวแทนจากภาคประชาชน ล้วนเล็งเห็นตรงกันว่า การเผชิญหน้ากันระหว่างผู้คนต่างศาสนาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้กำลังเป็นปรากฎการณ์ที่น่าหวั่นวิตกและการเลือกวิธีแก้ไขปัญหาของภาครัฐจะเป็นจุดเปลี่ยนที่ชี้ขาดวิกฤตในครั้งนี้
 

จะลดความขัดแย้งเชิงสัญลักษณ์ รัฐต้องรักษาชีวิตผู้บริสุทธิ์-คงสมานฉันท์

ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี
ศูนย์เฝ้าระวังเชิงองค์ความรู้สถานการณ์ภาคใต้  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

แนวรบภาคใต้ ภัยก่อการร้ายทวีความรุนแรง

  การปฏิบัติการก่อเหตุครั้งใหญ่ในพื้นที่ 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และบางส่วนของสงขลา เมื่อค่ำวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ตรงกับวันตรุษจีน ด้วยวิธี หลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่ยิง ถึงดับไฟทั้งเมือง ต่อเนื่องถึงเช้าวันที่ 19 กุมภาพันธ์ เป็นการเขย่าอำนาจรัฐครั้งใหญ่ในยุครัฐบาลสุรยุทธ์ จุลานนท์
          เป้าหมายการปฏิบัติการมีการวางแผนไว้อย่างแยบยล ลวงเจ้าหน้าที่รัฐจนหลงกล จน ไม่อาจป้องกันเหตุได้แม้แต่จุดเดียว ทั้งๆ ที่เป็นการก่อเหตุกลางเมือง ???

ป่วนตรุษจีนชายแดนใต้ สัญญาณอันตรายสงครามกลางเมือง

ศูนย์เฝ้าระวังเชิงองค์ความรู้สถานการณ์ภาคใต้
ฉบับที่  1 ปีที่ 2 เดือน กุมภาพันธ์ 2550

ความหวัง…ดินแดนใต้หลังรัฐประหาร

ฉบับที่ 2 ปีที่ 1 เดือนตุลาคม 2549

งานวิจัยของผศ. ดร. ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เรื่องสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้หลังการยึดอำนาจของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย (คปค.) สะท้อนให้คิดว่า หลังจากการยึดอำนาจในวันที่ 19 กันยายน 2549 ที่ผ่านมานั้น การเปลี่ยนแปลงรัฐบาลและระบอบการปกครองในครั้งนี้นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางนโยบายในเรื่องภาคใต้หรือไม่และการเปลี่ยนแปลงทางนโยบายดังกล่าวส่งผลต่อเนื่องมาสู่ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างไร?