เพศสภาพและความเข้าใจ
เพศสภาพและความเข้าใจ
ผู้หญิงในฐานะสมาชิกของสังคม โดย ชัยคฺ ดร.ยูสุฟ อัล เกาะเราะฎอวียฺ
ผู้หญิงในฐานะสมาชิกของสังคม
ชัยคฺ ดร.ยูสุฟ อัล เกาะเราะฎอวียฺ
ผู้ที่มีความลำเอียง ซึ่งถูกชักนำโดยผลประโยชน์ส่วนตัว ได้โฆษณาชวนเชื่อว่า อิสลามบังคับให้ผู้หญิงขังตัวอยู่แต่ในบ้าน โดยจะไม่ออกไปข้างนอก ยกเว้นออก ไปยังหลุมฝังศพ
บทใคร่ครวญของมุสลิมะฮ์คนหนึ่ง
บทใคร่ครวญของมุสลิมะฮ์คนหนึ่ง
ยาสมิน ซัตตาร์[1]
ในช่วงหลายวันที่ผ่านมา ได้ติดตามข้อถกเถียงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลกโซเชียล ที่นับเป็นข้อท้าทายสำคัญสำหรับสังคมไทยและสังคมปาตานีเองไม่น้อย ในประเด็นเรื่องการยอมรับความต่างของสังคม และประเด็นนี้ก็ค่อยๆ ก้าวไปสู่ประเด็นอื่นๆ กระทั่งเกิด Hate Speech ระหว่างกันในสังคม
เรื่องเล่าเท่าที่สังเกต ตอน ความเท่าเทียมจำเป็นจริงหรือ?
เรื่องเล่าเท่าที่สังเกต
ตอน ความเท่าเทียมจำเป็นจริงหรือ?
เพศสภาพ เพศวิถี และสิทธิมนุษยชน ล้วนเป็นองค์ประกอบของสันติภาพ
(English Scroll Down)
สิ่งที่เกิดขึ้นกับบูคูเป็นเรื่องที่น่าเสียใจเป็นอย่างยิ่ง เพราะแนวคิดเรื่องเพศสภาพ เพศวิถี และสิทธิมนุษยชน ล้วนเป็นองค์ประกอบของสันติภาพ ซึ่งผู้ที่ทำงานในประเด็นสันติภาพควรมองเห็นถึงความเชื่อมโยงเป็นหนึ่งเดียวกัน
“ภาวะผู้นำ” ในมุมมองของศาตราจารย์ ดร.ฏอริก รอมฎอน (ตอนที่ 1)
โดย.........อิมรอน โสะสัน
(ใจกว้าง) ถางทางต่างที่ไม่ลงรอย
ข้อเสนอถึงมิตรสหายทุกท่าน
กรณี : ก(ล)างเมือง ห้องเรียนเพศวิถี
“หากนักเคลื่อนไหวทุกคนมีเป้าหมายเดียวกัน คือ สันติภาพบนแผ่นดินเกิด”
แน่นอนความขัดแย้ง (ไม่ใช่สิ ความไม่เข้าใจกันมากกว่า) ที่กำลังงอกงามบนโลกโซเชียล ถือเป็นหนึ่งนิมิตรหมายอันดีสำหรับ “นักฝันทุกคน” ได้หันหน้ามาคุยกันอย่างจริงจัง
อย่าเพิ่งเบื่อในประเด็น เพราะประสบการณ์มากมายหลายปีที่ทับซ้อน ไม่เคยมีแนวทางอย่างเป็นจริงเป็นจังในการจัดการของพวกเรา (คนรุ่นใหม่) หากจะมีคือ แชร์แนวคิดผ่านสื่ออนไลน์เสียเป็นส่วนใหญ่
ฟุตบอลหญิง เพศสภาพ และพฤติกรรมในการสื่อสาร: อีกครั้ง
ฟุตบอลหญิง เพศสภาพและพฤติกรรมในการสื่อสาร: อีกครั้ง
——
ขณะที่เรามักได้ยินคำเรียกร้องจากสาธารณะต่อสื่อเสมอมาว่าต้องไม่เสนอเรื่องราวสร้างความเกลียดชัง แต่ในโลกโซเชียลที่พวกเราทุกคนมีพื้นที่สื่อกับสาธารณะนั้น ผู้คนดูจะไม่ต้องรับผิดชอบสิ่งที่ตัวเองพูด
เราใช้โซเชียลตำหนิวิจารณ์ผู้คนจนเป็นเรื่องปกติ ในแง่หนึ่งโซเชียลมันดีเพราะมันเป็นพื้นที่ให้สิทธิให้เสียงกับคนตัวเล็ก คนที่ถูกกดทับคนที่อยากให้สังคมได้ยินเสียงพวกเขา
จดหมายเปิดผนึกถึงเพื่อนนักวิชาการและนักกิจกรรม กรณีห้องเรียนเพศวิถี
ตามที่ได้มีการออกอากาศรายการ กลางเมือง ทางช่องไทยพีบีเอส นำเสนอเรื่องห้องเรียนเพศวิถี ของโครงการห้องเรียนเพศวิถีและสิทธิมนุษยชน ร้านหนังสือบูคู (Buku Classroom) และหลังจากการเผยแพร่ออกอากาศดังกล่าว มีกลุ่มนักวิชาการศาสนาหลายท่านออกมาโต้แย้งหรือแสดงความไม่เห็นด้วยในงานของห้องเรียนเพศวิถี โดย ”กล่าวหา” ว่าเราทำงานเพื่อสอนให้คนมุสลิมรักเพศเดียวกัน ซึ่งผิดวัตถุประสงค์ของโครงการและเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนไปจากเป้าหมายในการทำงานของห้องเรียนเพศวิถี